ประวัติความเป็นมา

บริษัท อยุธยาพลังงานสะอาด จำกัด
ที่อยู่ 43/1-2 หมู่ 3 ตำบลขวัญเมือง อำเภอบางปะหัน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 13220

TEL: 035-381018
EMAIL: thaleungdech@aceco1.com

โครงการโรงไฟฟ้า aceco จากการแปรรูปขยะพลาสติกเป็นน้ำมันด้วยความร้อน (เทคโนโลยีไพโรไลซิส) ขนาดกำลังการผลิต 24,000 ลิตรต่อวันเพื่อใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตไฟฟ้า ขนาด 3.0 เมกะวัตต์

จากการแปรรูปขยะพลาสติกเป็นน้ำมันด้วยความร้อน (เทคโนโลยีไพโรไลซิส) ขนาดกำลังการผลิต24,000 ลิตรต่อวัน เพื่อใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตไฟฟ้า ขนาด 3.0 เมกะวัตต์

ความเป็นมาของโครงการ

14-1-2558 10-02-08

ข้อมูลทั่วไป บริษัท อยุธยา พลังงานสะอาด จำกัด

6-1-2558 15-14-53

การจัดทำประชาคมโครงการ

6-1-2558 15-16-58

6-1-2558 15-17-57

ข้อมูลที่ปรึกษาโครงการ

6-1-2558 15-21-57

ข้อมูลที่ปรึกษาโครงการ

6-1-2558 15-28-24

แผนที่สังเขปของโครงการ

6-1-2558 15-29-04

แผนที่ภาพถ่ายดาวเทียมของโครงการ

6-1-2558 15-29-45

แบบแผนผังทั่วไปของโครงการ

6-1-2558 15-31-00

เทคโนโลยี Pyrolysis

6-1-2558 15-34-32

6-1-2558 15-35-45

6-1-2558 15-37-21

6-1-2558 15-40-50

ลักษณะของเครื่องคัดแยกขยะพลาสติก

6-1-2558 15-41-46

เชื้อเพลิงที่ใช้ในโรงไฟฟ้าของโครงการ

6-1-2558 15-45-36

ระบบผลิตกระแสไฟฟ้า
ระบบผลิตกระแสไฟฟ้า (Power Generation System) ประกอบด้วย
• เครื่องยนต์สันดาปภายใน (Diesel Engine)
• เครื่องกำเนิดกระแสไฟฟ้้า (Generator)
• หม้อแปลงไฟ (Transformer)

6-1-2558 16-02-45

ระบบการทำงานของโครงการ

6-1-2558 16-05-08

ประโยชน์ที่จะได้รับ – ต่อภาพรวม…

1. เป็นตัวอย่างโรงไฟฟ้าสะอาด ด้วยเทคโนโลยีทางเลือกอย่างยั่งยืน
2. เป็นตัวอย่าง ในการส่งเสริมให้กับชุมชนทั่วประเทศเพื่อจัดการขยะ และผลิตพลังงานไฟฟ้า
3. หยุด ! การใช้เทคโนโลยีที่ไม่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมในโครงการที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
4. หยุด ! การใช้เชื้อเพลิง ที่ไม่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เช่นเชื้อเพลิงฟอสซิล ถ่านหิน หรือแม้แต่ต้นไม้โตเร็วที่ตัดมาทำเชื้อเพลิงในปัจจุบัน
5. ประเทศไทย จะเข้าสู่ยุคของ พลังงานสะอาด อย่างแท้จริง

ประโยชน์ที่จะได้รับ – ต่อชุมชน…

1.ชาวบ้านจะมีรายได้จากการขายขยะของตัวเอง โดยโรงไฟฟ้าจะรับซื้อโดยตรงจากครัวเรือน หรือชุมชน
2. รูปแบบภาษีโรงเรือน ที่ดิน และเครื่องจักร ประมาณ 1.2 ล้านบาท/ปี
3. การจ้างงานที่จะเกิดขึ้นในชุมชน ประมาณ 50 คน
4. เงินสนับสนุนกองทุนพัฒนาไฟฟ้า จาก สกพ. ประมาณ 250,000 บาท/ปี
5. เงินสนับสนุนหมู่บ้าน ในรูปแบบของการดำเนินงานมวลชนสัมพันธ์ ระหว่างดำเนินกิจการ
6. เป็นชุมชนต้นแบบในการจัดการขยะชุมชน และผลิตพลังงานไฟฟ้า
7. ตั้งกองทุนดูแลผู้สูงอายุ เด็ก คนป่วย และผู้ด้อยโอกาสในชุมชน ประมาณ 1 ล้านบาท/ปี
8. ประหยัดค่าใช้จ่ายในการกำจัดขยะของชุมชน ประมาณ 66,000 บาท/ปี